กระแสข่าว แตงโม นิดา และวาระข่าวสารที่หายไปในรายการข่าวทีวี
![หน้าปกเว็บไซต์](https://www.thaimediafund.or.th/wp-content/uploads/2022/04/หน้าปกเว็บไซต์-1.jpg)
![F2](https://www.thaimediafund.or.th/wp-content/uploads/2022/04/F2-scaled.jpg)
![F3](https://www.thaimediafund.or.th/wp-content/uploads/2022/04/F3-scaled.jpg)
![F4](https://www.thaimediafund.or.th/wp-content/uploads/2022/04/F4.jpg)
![ปก-Recovered](https://www.thaimediafund.or.th/wp-content/uploads/2022/04/ปก-Recovered.jpg)
![2-Recovered](https://www.thaimediafund.or.th/wp-content/uploads/2022/04/2-Recovered.jpg)
![3-Recovered](https://www.thaimediafund.or.th/wp-content/uploads/2022/04/3-Recovered.jpg)
![4-Recovered](https://www.thaimediafund.or.th/wp-content/uploads/2022/04/4-Recovered.jpg)
![5-Recovered](https://www.thaimediafund.or.th/wp-content/uploads/2022/04/5-Recovered.jpg)
![6-Recovered](https://www.thaimediafund.or.th/wp-content/uploads/2022/04/6-Recovered.jpg)
กลุ่มที่อาการน้อย : สัญญาณชีพปกติ
กลุ่มที่อาการรุนแรง : มีอัตราการหายใจ 30 ครั้งต่อนาทีขึ้นไป หรืออยู่ในภาวะช็อค
.
การรักษา
.
การดูแลที่คลินิกฝากครรภ์
– ควรเลื่อนนัดเพื่อมาฝากครรภ์ ตรวจคลื่นเสียงความถี่สูง หรือตรวจคัดกรองเบาหวานไปจนกว่าจะพ้นช่วงกำหนดเวลากักตัว หรือจนกว่าจะตรวจไม่พบเชื้อ
– กรณีจำเป็นต้องนัดติดตาม ให้ใช้การป้องกันการแพร่เชื้อตามมาตรฐานของโรงพยาบาล
การให้ยาบางชนิด ที่ต้องคำนึงถึงอายุครรภ์และทารก
การไม่สามารถนอนคว่ำเพื่อให้ออกซิเจนเพิ่มขึ้นได้ เพิ่มโอกาสที่ต้องใส่เครื่องช่วยหายใจ
.
ข้อปฏิบัติเบื้องต้นสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์
ถึงแม้จะมีการระบาดของโควิด แต่ด้วยความรุนแรงที่ไม่มากนัก จึงทำให้รัฐบาลตัดสินใจไม่ห้ามการฉลองในเทศกาลสงกรานต์ แต่ลูกหลานก็ต้องคำนึงถึงความปลอดภัยของผู้ใหญ่ในบ้านด้วย ดังนั้นหากต้องกลับบ้านควรปฏิบัติตนให้เคร่งครัดเพื่อความปลอดภัยต่อตนเองและคนในครอบครัว โดยมีหลักง่าย ๆ ดังนี้
1) ญาติผู้ใหญ่ ควรรีบฉีดวัคซีนให้ครบ 3 เข็มภายในสิ้นเดือนมีนาคม 2565 เพื่อให้มีภูมิคุ้มกันขึ้นสูงสุด 14 วันหลังฉีดเข็ม 3 พอดีในช่วงเทศกาลสงกรานต์ กรณีที่ยังไม่เคยฉีดเลย หรือฉีดไปแล้ว 1 เข็ม ขอให้เร่งฉีดเข็มเพิ่มเติมทันที
2) ก่อนเดินทาง ขอให้ทุกคนได้ฉีดวัคซีนให้ครบ 3 เข็มด้วย
3) ก่อนออกเดินทางไม่เกิน 3 วัน ขอให้ทำการตรวจ ATK ว่าตัวเองมีผลเป็นลบ ถ้าผลเป็นบวก ขอให้ งดเว้นการเดินทางกลับไปเยี่ยมญาติผู้ใหญ่
4) ในระหว่างเดินทาง ถ้าหากเดินทางโดยบริการสาธารณะ ต้องใส่หน้ากากตลอดเวลาอย่างเคร่งครัด
5) เมื่อถึงบ้าน ขอให้หลีกเลี่ยงการถอดหน้ากาก โดยเฉพาะถ้าเป็นไปได้ให้หลีกเลี่ยงการทานอาหารร่วมกัน เว้นระยะห่างให้มาก และไม่ประมาท
6) เมื่อเดินทางกลับมาทำงานแล้ว ขอให้ทำงานจากที่บ้าน (Work from Home) เป็นเวลา 7 วัน
ข้อปฏิบัติเบื้องต้นดังกล่าวเป็นสิ่งง่าย ๆ ที่ประชาชนทุกคนสามารถปฏิบัติได้ และไม่ยุ่งยากจึงขอให้ปฏิบัติกันอย่างเคร่งครัด เพื่อคนในครอบครัว ตนเอง และสังคมโดยรวม
มาตรการการบริหารจัดการสถานการณ์โควิด 19 สู่โรคประจำถิ่น มีอะไรบ้าง
ในปัจจุบันประชาชนยังสามารถรักษาโรคโควิด 19 ได้ทุกที่ ส่วนในอนาคต ผู้ป่วยโควิด จะรักษาฟรีตามสิทธิของแต่ละคน และประเทศไทยกำลังจะเข้าสู่การปรับแผนโควิดให้เป็นโรคประจำถิ่นโดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
เป้าหมายของการปรับโควิด 19 สู่โรคประจำถิ่น มีดังนี้
– การเข้าถึงการดูแลรักษาได้อย่างรวดเร็ว มีคุณภาพ อัตราป่วยตายไม่เกิน 0.1%
– ความครอบคลุมวัคซีนเข็มกระตุ้นมากกว่าหรือเท่ากับ 60%
– สร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง และความร่วมมือของประชาชนในการรับมือ และปรับตัว เพื่ออยู่ร่วมกับ โควิด 19 จาก Pandemic Endemic อย่างปลอดภัย
สำหรับสาระสำคัญของแผนและมาตรการของการปรับโควิด 19 สู่โรคประจำถิ่น แบ่งเป็น 4 ด้าน ดังนี้
1.ด้านสาธารณสุข
– เร่งการฉีดวัคซีนเข็มกระตุ้นมากกว่าหรือเท่ากับ 60%
– ปรับระบบการเฝ้าระวัง เน้นการระบาดเป็นกลุ่มก้อน และผู้ป่วยปอดอักเสบ
– ผ่อนคลายมาตรการสำหรับผู้เดินทางจากต่างประเทศ
– ปรับแนวทางแยกกักตัวผู้ป่วย และกักกันผู้สัมผัส
2.ด้านการแพทย์
– ปรับแนวทางการดูแลรักษาแบบผู้ป่วยนอก (OPD)
– ดูแลผู้ป่วยที่เสี่ยงอาการรุนแรง และมีอาการรุนแรง รวมทั้งภาวะ Long COVID
3.ด้านกฎหมายและสังคม
– บริหารจัดการด้านกฎหมายในทุกหน่วยงานให้สอดคล้องกับการปรับตัวเข้าสู่ Post pandemic
– ผ่อนคลายมาตรการทางสังคม ลดการจํากัดการเดินทางและการรวมตัวของคนหมู่มาก
– ทุกภาคส่วนส่งเสริมมาตรการ UP, COVID Free Setting
4.ด้านการสื่อสารและประชาสัมพันธ์
– ทุกภาคส่วนร่วมสร้างความรู้ความเข้าใจ และพฤติกรรมให้ประชาชนสามารถดำเนินชีวิตร่วมกับโควิด 19 อย่างปลอดภัย (Living with COVID-19)
– สื่อสารประชาสัมพันธ์เชิงรุกอย่างครอบคลุมให้เกิดความเข้าใจที่ถูกต้อง และสร้างความร่วมมือของประชาชนในแต่ละช่วงเวลา
5.ไทม์ไลน์ของการดำเนินการ แบ่งเป็น 4 ระยะ ดังนี้
– ระยะ Combatting (ระดับ 4) เริ่มตั้งแต่ 12 มี.ค. – ต้นเม.ย.2565
– ระยะ Plateau (ระดับ 3) ตั้งแต่ เม.ย. – พ.ค. 2565
– ระยะ Declining (ระดับ 2) ตั้งแต่ปลาย พ.ค. – มิ.ย. 2565
– ระยะ Post pandemic (ระดับ 1) ตั้งแต่ 1 ก.ค. เป็นต้นไป
ดังนั้นหากติดเชื้อโควิดหลังจากที่รัฐบาลประกาศให้เป็นโรคประจำถิ่นแล้วประชาชนต้องศึกษาหลักเกณฑ์การใช้สิทธิ์หรือเงื่อนไขให้ดีในการที่จะเข้ารับการรักษา
ความเห็นล่าสุด