บทความ/งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การส่งเสริมและพัฒนาองค์ความรู้ในการพัฒนาสื่อและนิเวศสื่อที่ปลอดภัยและสร้างสรรค์เป็นหนึ่งในยุทธศาสตร์ของกองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ มุ่งเน้นกระบวนการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ทดลอง ตลอดจนเปิดเวทีสาธารณะเพื่อการระดมความเห็นและถอดบทเรียน เพื่อให้เกิดการพัฒนาต้นแบบสื่อที่ปลอดภัย และสร้างสรรค์ และเกิดการสังเคราะห์ รวบรวมองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสื่อ ซึ่งเหมาะแก่การเผยแพร่สู่สาธารณะ ให้เป็นแนวทางในการสื่อสารและสร้างสรรค์ผลงานสื่อสำหรับผู้ผลิตสื่อและผู้ที่สนใจต่อไป
ก.ค. 67 “Butterbear” ยังครองอันดับ 1 “โอลิมปิก 2024” ติดอันดับ 2 ซีรีส์หญิงรักหญิง “ใจซ่อนรัก” มาแรงอันดับ 3 สื่อฯ ดัน “ปลาหมอคางดำ” ติดอันดับ 9 ขณะที่ TikTok ยังเป็นแพลตฟอร์มยอดนิยม
2024-09-05
ถอดรหัส 3 เสา “ประเด็น – แพลตฟอร์ม – ผู้ส่งสาร” เมื่อสูตรสำเร็จ Engagement อาจไม่ใช่พลังดันสื่อออนไลน์ให้เปลี่ยนแปลงสังคมไทย
2024-07-31
Butterbear ขึ้นอันดับ 1 ที่โลกออนไลน์สนใจในเดือน มิ.ย. 67 Rockstar ลิซ่า มาอันดับ 3 ร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียมเป็นอันดับ 9 ผู้ใช้งานทั่วไปสร้าง Engagement ได้สูงสุดและ X เป็นแพลตฟอร์มยอดนิยมแทนที่ TikTok
2024-07-26
10 ประเด็นที่ได้รับความสนใจ มีการสื่อสารและมีส่วนร่วมมากที่สุดในโลกออนไลน์ เดือนพฤษภาคม 2567
2024-06-24
10 ประเด็นที่ได้รับความสนใจ มีการสื่อสารและมีส่วนร่วมมากที่สุดในโลกออนไลน์ เดือนมกราคม-เมษายน 2567
2024-05-23
จากการศึกษาการสื่อสารออนไลน์ของสังคมไทยในปี 2566 สู่ข้อเสนอเพื่อบทบาทการสื่อสารออนไลน์ในการขับเคลื่อนสังคม
2024-05-02
สำรวจการจัดระดับความเหมาะสมและการขึ้นคำเตือนในทีวีดิจิทัล Netflix และ Prime Video : พบการจัดเรตต่างกันของละครที่ออกอากาศข้ามแพลตฟอร์ม
2024-01-23
วันคริสต์มาสและวันขึ้นปีใหม่ได้รับความสนใจสูงสุดในโซเชียลมีเดีย และ Instagram เป็นแพลตฟอร์มยอดนิยมแทน TikTok
2024-01-20
ลอยกระทง 66 : คงไว้ ปรับ หรือ ยกเลิก? เมื่อโลกออนไลน์เปิดประเด็นด้านผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
2024-01-03
พฤศจิกายน 66 วันลอยกระทงได้รับความสนใจสูงสุดในโซเชียลมีเดียและ TikTok ยังเป็นแพลตฟอร์มยอดนิยม
2023-12-27
ตุลาคม 66 ภาพยนตร์เรื่องสัปเหร่อได้รับความสนใจสูงสุดในโซเชียลมีเดีย และ TikTok กลับมาเป็นแพลตฟอร์มยอดนิยมอีกครั้ง
2023-11-22
กันยายน 66 โซเชียลมีเดียสนใจเนื้อหาอาชญากรรมในประเด็นกำนันนกและค้นบ้านบิ๊กโจ๊ก และ Facebook เป็นแพลตฟอร์มยอดนิยมแทนที่ TikTok
2023-11-02
หมอประเวศแนะกองทุนสื่อ จับมือสภาการสื่อมวลชนเห่งชาติ ร่วมพัฒนาโครงการยุทธศาสตร์สื่อสร้างสรรค์ประเทศไทย 6 ยุทธศาสตร์ผลักดันสื่อสร้างสรรค์ขับเคลื่อนสังคมไทยอย่างเป็นระบบปรับกระบวนการเรียนรู้ จาก Technic-oriented เป็น System-oriented
2023-10-26
สำรวจความสนใจโลกออนไลน์ ครึ่งแรกของปี 66 การเมือง-การเลือกตั้งนำลิ่ว ตามด้วยประเด็นบันเทิง
2023-10-25
สิงหาคม 66 แม้โลกออนไลน์ของไทย สนใจบันเทิงเป็นอันดับต้น แต่โดยรวมสัดส่วนความสนใจในประเด็นการเมืองยังสูงกว่าเล็กน้อย ขณะที่ TikTok ขึ้นแท่นแพลตฟอร์มยอดนิยม
2023-10-05
กรกฎาคม 66 ประเด็นการเมืองยังเป็นที่สนใจของสื่อสังคมออนไลน์ โดยมี Facebook, TikTok, Twitter เป็นแพลตฟอร์มยอดนิยม
2023-09-22
บทความวิจัยเรื่อง "มารยาทดิจิทัล: ข้อกำหนดในการสื่อสารออนไลน์ที่พลเมืองดิจิทัลไทยควรตระหนัก"
2022-06-27
Kingdomoftigers บ้านพักพิงของแมวจร ที่เชื่อว่า การจะทำให้คุณภาพชีวิตแมวจรดีขึ้นคือการเปลี่ยนแมวจรให้เป็นแมวบ้าน
2022-03-09
การสื่อสารความยินยอมพร้อมใจ การปฏิเสธ/ต่อรอง และความรุนแรงทางเพศในละครโทรทัศน์ยอดนิยมปี 2564
2022-03-01
‘ธีระวัฒน์ แดงกะเปา’ หมออนามัยแห่งบางขัน ผู้ก่อตั้งธนาคารฟ้าทะลายโจร | ธนาคารฟ้าทะลายโจรผลผลิตจากความร่วมมือของชุมชน
2022-02-02
บทสัมภาษณ์ “ดุลยภาพ” ในการยอมรับและกำกับดูแลสื่อโป๊ของสังคมไทย : บทเรียนจาก Onlyfans และน้องไข่เน่า “
2021-11-26
”ความคิดเห็นต่อผลการศึกษาของ Media Alert เรื่อง การรายงานข่าวการฆ่าตัวตายในสื่อ” โดย รศ.ดร นิธิดา แสงสิงแก้ว อาจารย์ประจําคณะวารสารศาสตร์ฯ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
2021-11-26
ความคิดเห็นของแพทย์หญิงพรรณพิมล วิปุลากร อธิบดีกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข” ต่อผลการศึกษาเรื่อง “การรายงานข่าวฆ่าตัวตายในสื่อโทรทัศน์” ของ Media Alert
2021-11-26
ความเห็นต่อผลการศึกษา “ความเชื่อทางไสยศาสตร์ในรายการข่าวโทรทัศน์” รองศาตราจารย์ ดร.นวลน้อย ตรีรัตน์ ผู้อำนวยการศูนย์ศึกษาปัญหาการพนัน
2021-11-26
ความเห็นต่อผลการศึกษา “ความเชื่อทางไสยศาสตร์ในรายการข่าวโทรทัศน์” โดย นายชวรงค์ ลิมป์ปัทมปาณี ประธานสภาการสื่อมวลชนแห่งชาติ
2021-11-26
Media Alert เปิดผลสำรวจการรายงานข่าวฆ่าตัวตายในสื่อออนไลน์ระหว่างวันที่ 15 มิ.ย. – 15 ก.ค. 2564
2021-11-26
โครงการศึกษาวิจัยสภาพการณ์สื่อและพฤติกรรมการเปิดรับสื่อ : การรายงานข่าวฆ่าตัวตายในสื่อโทรทัศน์
2021-11-26
โครงการศึกษาวิจัยสภาพการณ์สื่อและพฤติกรรมการเปิดรับสื่อ : ความเชื่อทางไสยศาสตร์ในรายการข่าวโทรทัศน์
2021-09-29
โครงการศึกษาวิจัยสภาพการณ์สื่อและพฤติกรรมการเปิดรับสื่อ : วาทกรรมความงามผ่านเรือนร่างคนดังในชุดว่ายน้ำตามวาระสื่อในฤดูร้อน
2021-09-23
โครงการศึกษาวิจัยสภาพการณ์สื่อและพฤติกรรมการเปิดรับสื่อ : ศึกษาวิเคราะห์ “สงกรานต์” ในสื่อปี 61 และ 62 ก่อนการระบาดของโควิด-19 กับปี 63 และ 64 ที่โควิด-19 ระบาดในช่วงเทศกาลสงกรานต์
2021-09-23
โครงการศึกษาวิจัยสภาพการณ์สื่อและพฤติกรรมการเปิดรับสื่อ : การรายงานข่าววัคซีนโควิด-19: กรณีศึกษา “การเลื่อนฉีดวัคซีนของนายกฯ ” ในวันที่ 12 มี.ค. 64 และ “การฉีดวัคซีนของนายกฯ” ในวันที่ 16 มี.ค. 64
2021-09-23
โครงการศึกษาวิจัยสภาพการณ์สื่อและพฤติกรรมการเปิดรับสื่อ : ความสัมพันธ์และความรุนแรงทางเพศในละครโทรทัศน์
2021-09-23
โครงการศึกษาวิจัยสภาพการณ์สื่อและพฤติกรรมการเปิดรับสื่อ : ความปลอดภัยสาธารณะและสิทธิส่วนบุคคล ในข่าวและความคิดเห็นทางออนไลน์
2021-09-23
ติดต่อ/ร้องเรียน ( Call Center )
02 273 0116-9
จำนวนผู้เข้าชมเว็บไซต์
1,410,188
กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์
เลขที่ 388 อาคารเอส.พี. (ไอบีเอ็ม) อาคารเอ ชั้น 6 ถนนพหลโยธิน
แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400
โทร. 02 273 0116-9 โทรสาร. 02 273 0120
email: [email protected] (ส่งเอกสาร/หนังสือเชิญ)
email: [email protected]
กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์
เลขที่ 388 อาคารเอส.พี. (ไอบีเอ็ม) อาคารเอ ชั้น 6
ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท
กรุงเทพมหานคร 10400
โทร. 02 273 0116-9 โทรสาร. 02 273 0120
email: [email protected] (ส่งเอกสาร/หนังสือเชิญ)
email: [email protected]